ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีพิเศษ

ควาดรับผิดชอบในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีพิเศษ การขายกระแสไฟฟ้า นำประปา  ความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อได้รับชำระราคา หรือได้มีการออกใบกำกับก่อนได้รับชำระราคาสินค้า การขายสินค้าไม่มีรูปร่าง เช่น สิทธิในสิทธิบัตร กู๊ดวิลล์ เครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ สัมปทาน ค่าลิขสิทธิ ความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อได้รับชำระราคาสินค้า เว้นแต่ได้ทำกรณีนี้เกิดขึ้นก่อน โอนกรรมสิทธิ์สินค้า ได้ออกใบกำกับภาษี 3. การขายสินค้าหรือการให้บริการด้วยเครื่องอัตโนมัติโดยชำระราคาด้วยวิธีการหยอดเงินเหรียญ บัตร ความรับผิดในการเสียภาษีเมื่อได้นำเงิน เหรียญ บัตร ออกจากเครื่อง 4. การขายสินค้าโดยการชำระราคาด้วยวิธีการใช้บัตรเครดิต ความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อมีการส่งมอบสินค้าเว้นแต่ได้ทำดังต่อไปนี้ก่อนขึ้นก่อนการส่งมอบ โอนกรรมสิทธิ์สินค้า เมื่อมีการออกหลักฐานการใช้บัตรเครดิต ออกใบกำกับภาษี 5. การให้บริการโดยการชำระราคาด้วยการใช้บัตรเครดิต ความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อมีการออกหลักฐานการใช้บัตรเครดิต เว้นต่อกรณีได้มีการออกใบกำกับภาษีก่อนออกหลักฐานการใช้บัตรเครดิต 6. การขายสินค้าตามสัญญาจะขายสินค้าตามหลักเกณฑ์ที่ตามกฎหมายกำหนด ให้ความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อส่งมอบสินค้า เว้นแต่ได้มีการกระทำดังนี้ก่อน โอนกรรมสิทธิ์สินค้า… Read more

FacebookTwitterGoogle+LineEmailShare

ชาวต่างชาติเปิดบัญชีธนาคารในประเทศไทย

ข้อมูลเอกสารสำหรับชาวต่างชาติที่จะเปิดบัญชีเงินฝากในประเทศไทย เอกสารประกอบการเปิดบัญชี สำหรับธนาคารมีดัง ชาวต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในประเทศไทยเป็นการถาวร ใบประจำตัวคนต่างด้าว/ใบสำคัญถิ่นที่อยู่ สำเนาทะเบียนบ้าน ชาวต่างประเทศที่มีใบอนุญาตให้ทำงานในประเทศไทย หนังสือเดินทาง (Passport) ใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) ชาวต่างประเทศที่ไม่มีใบอนุญาตให้ทำงานในประเทศไทย (Work Permit) หนังสือเดินทาง (Passport) ร่วมกับเอกสารประกอบการเปิดบัญชี ดังนี้ 1. หนังสือรับรอง ที่ออกโดย – สถานทูตหรือองค์กรระหว่างประเทศ – หน่วยงานต่างประเทศ เช่น หนังสือรับรองการรับเงินบำนาญจากหน่วยงานรัฐบาลต่างประเทศ – ธนาคารของผู้ขอเปิดบัญชีในต่างประเทศส่งผ่าน SWIFT – บุคคลที่ธนาคารเชื่อถือได้ เช่น เจ้าหน้าที่ธนาคาร ลูกค้า ข้าราชการ ผู้บริหารบริษัทเอกชน – สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทยที่ธนาคารเชื่อถือได้ –… Read more

ขั้นตอนจดทะเบียนแก้ไขชื่อและตราประทับ

จดทะเทียนแก้ไขชื่อนิติบุคคลพร้อมแก้ไขตราประทับ ขั้นตอนจดทะเทียนแก้ไขชื่อนิติบุคคลพร้อมแก้ไขตราประทับ กรรมการของบริษัทจองชื่อนิติบุคคล (ต้องไม่ซ้ำหรือคลองจ้องกับชื่อมีอยู่แล้ว) จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อมีมติพิเศษ โดยส่งหนังสือบอกกล่าวนัดประชุมผู้ถือหุ้นทางไปรษณีย์ตอบรับ และลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์แห่งท้องที่อย่างน้อยหนึ่งคราวก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 14 วันและให้ระบุวาระการประชุมเรื่องแก้ไขเพิ่มเติมชื่อบริษัทและตราสำคัญของบริษัท รวมทั้ง แก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 1. (ชื่อ) ที่ต้องการจะแก้ไขให้ครบถ้วนการนับระยะเวลาบอกกล่าวนัดประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น ให้เริ่มนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ส่งหนังสือบอกกล่าวทางไปรษณีย์ตอบรับหรือวันที่ลงพิมพ์โฆษณาในหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นวันที่ดำเนินการหลังสุดเป็นวันแรกแห่งระยะเวลา และการประชุมจะมีขึ้นได้ในวันถัดจากวันสิ้นสุดแห่งกำหนดระยะเวลานั้น ในการลงมติให้แก้ไขชื่อ และตราสำคัญของบริษัท รวมทั้งแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 1.(ชื่อ) ต้องลงมติด้วยคะแนนเสียงข้างมากไม่ต่ำกว่าสามในสี่ของจำนวนหุ้นทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน จัดทำคำขอจดทะเบียน รายการแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 1. (ชื่อบริษัท) โดยให้กรรมการตามออำนาจที่จดทะเบียนไว้เป็นผู้ขอจดทะเบียนแล้วยื่นจดทะเบียนต่อนายทะเบียน ในกรณีที่บริษัทจดทะเบียนตราสำคัญไว้โดยระบุชื่อบริษัทไว้ในตรา บริษัทต้องจดทะเบียนแก้ไขตราสำคัญให้สอดคล้องกับชื่อใหม่ด้วย ให้ระบุรายการแก้ไขตราสำคัญไว้ในคำขอจดทะเบียนเดียวกับการแก้ไขชื่อบริษัท ขั้นตอนจัดทำข้อมูลและเอกสารที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อ 1. (ชื่อ) และดวงตรา ชื่อบริษัทที่ได้เปลี่ยนใหม่ ดวงตราสำคัญใหม่ คำขอจดทะเบียนบริษัทจำกัด (แบบ บอจ.1) แบบคำรับรองการจดทะเบียนบริษัทจำกัด… Read more