ชาวต่างชาติเปิดบัญชีธนาคารในประเทศไทย

ข้อมูลเอกสารสำหรับชาวต่างชาติที่จะเปิดบัญชีเงินฝากในประเทศไทย เอกสารประกอบการเปิดบัญชี สำหรับธนาคารมีดัง ชาวต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในประเทศไทยเป็นการถาวร ใบประจำตัวคนต่างด้าว/ใบสำคัญถิ่นที่อยู่ สำเนาทะเบียนบ้าน ชาวต่างประเทศที่มีใบอนุญาตให้ทำงานในประเทศไทย หนังสือเดินทาง (Passport) ใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) ชาวต่างประเทศที่ไม่มีใบอนุญาตให้ทำงานในประเทศไทย (Work Permit) หนังสือเดินทาง (Passport) ร่วมกับเอกสารประกอบการเปิดบัญชี ดังนี้ 1. หนังสือรับรอง ที่ออกโดย – สถานทูตหรือองค์กรระหว่างประเทศ – หน่วยงานต่างประเทศ เช่น หนังสือรับรองการรับเงินบำนาญจากหน่วยงานรัฐบาลต่างประเทศ – ธนาคารของผู้ขอเปิดบัญชีในต่างประเทศส่งผ่าน SWIFT – บุคคลที่ธนาคารเชื่อถือได้ เช่น เจ้าหน้าที่ธนาคาร ลูกค้า ข้าราชการ ผู้บริหารบริษัทเอกชน – สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทยที่ธนาคารเชื่อถือได้ –… Read more

FacebookTwitterGoogle+LineEmailShare

ขั้นตอนจดทะเบียนแก้ไขชื่อและตราประทับ

จดทะเทียนแก้ไขชื่อนิติบุคคลพร้อมแก้ไขตราประทับ ขั้นตอนจดทะเทียนแก้ไขชื่อนิติบุคคลพร้อมแก้ไขตราประทับ กรรมการของบริษัทจองชื่อนิติบุคคล (ต้องไม่ซ้ำหรือคลองจ้องกับชื่อมีอยู่แล้ว) จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อมีมติพิเศษ โดยส่งหนังสือบอกกล่าวนัดประชุมผู้ถือหุ้นทางไปรษณีย์ตอบรับ และลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์แห่งท้องที่อย่างน้อยหนึ่งคราวก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 14 วันและให้ระบุวาระการประชุมเรื่องแก้ไขเพิ่มเติมชื่อบริษัทและตราสำคัญของบริษัท รวมทั้ง แก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 1. (ชื่อ) ที่ต้องการจะแก้ไขให้ครบถ้วนการนับระยะเวลาบอกกล่าวนัดประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น ให้เริ่มนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ส่งหนังสือบอกกล่าวทางไปรษณีย์ตอบรับหรือวันที่ลงพิมพ์โฆษณาในหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นวันที่ดำเนินการหลังสุดเป็นวันแรกแห่งระยะเวลา และการประชุมจะมีขึ้นได้ในวันถัดจากวันสิ้นสุดแห่งกำหนดระยะเวลานั้น ในการลงมติให้แก้ไขชื่อ และตราสำคัญของบริษัท รวมทั้งแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 1.(ชื่อ) ต้องลงมติด้วยคะแนนเสียงข้างมากไม่ต่ำกว่าสามในสี่ของจำนวนหุ้นทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน จัดทำคำขอจดทะเบียน รายการแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 1. (ชื่อบริษัท) โดยให้กรรมการตามออำนาจที่จดทะเบียนไว้เป็นผู้ขอจดทะเบียนแล้วยื่นจดทะเบียนต่อนายทะเบียน ในกรณีที่บริษัทจดทะเบียนตราสำคัญไว้โดยระบุชื่อบริษัทไว้ในตรา บริษัทต้องจดทะเบียนแก้ไขตราสำคัญให้สอดคล้องกับชื่อใหม่ด้วย ให้ระบุรายการแก้ไขตราสำคัญไว้ในคำขอจดทะเบียนเดียวกับการแก้ไขชื่อบริษัท ขั้นตอนจัดทำข้อมูลและเอกสารที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อ 1. (ชื่อ) และดวงตรา ชื่อบริษัทที่ได้เปลี่ยนใหม่ ดวงตราสำคัญใหม่ คำขอจดทะเบียนบริษัทจำกัด (แบบ บอจ.1) แบบคำรับรองการจดทะเบียนบริษัทจำกัด… Read more

ขั้นตอนการขอมีเลขบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี

ขั้นตอนการขอมีเลขบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี ห้างฯ เมื่อจดทะเบียนจัดตั้งห้างฯ ได้รับเลขประจำตัว 13 หลัก จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า แล้ว เลขประจำตัวผู้เสียภาษีก็จะเป็นเลขเดียวกัน(ดูได้จากหนังสือรับรองบริษัท) ไม่ต้องไปยื่นคำขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีกับกรมสรรพากร ขั้นตอนและเอกสารที่ต้องจัดเตรียม การขอจดภาษีมูลค่าเพิ่ม ห้างฯ ดังต่อไปนี้ แบบ ภพ.01 (3 ฉบับ) หนังสือรับรองบริษัทกระทรวงพาณิชย์ (ไม่เกิน 6 เดือน) ที่ตั้งสถานประกอบการ กรณีที่สถานประกอบการเป็นสถานที่เช่า จะต้องมีบัตรประชาชนของผู้มีอำนาจในการเช่า ทะเบียนบ้านของผู้เช่า และแบบฟอร์มลงลายมือชื่อผู้ให้เช่า ในการยินยอมให้ใช้สถานประกอบการ สถานประกอบการเป็นของกรรมการผู้มีอำนาจ ก็ไม่ต้องเตรียมหลักฐานเพิ่ม แผนที่ตั้งสถานประกอบการ ภาพถ่ายสถานที่ประกอบการ บัตรประชาชนของกรรมการผู้มีอำนาจ ถ้ากรณีผู้มีอำนาจไม่ยื่นคำขอด้วยตนเอง ทำหนังสือมอบอำนาจติดอากรแสตมป์ 10 บาท พร้อมบัตรประชาขนผู้รับรองฉบับจริง การยื่นคำขอจดภาษีมูลค่าเพิ่ม เพียงแต่ท่านต้องทราบว่า… Read more

ขั้นตอนการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำกัด

จดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจำกัด ขั้นตอนข้อมูลที่ต้องจัดเตรียมการจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน ผู้ขอจดทะเบียนต้องจัดเตรียมข้อมูล ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนควรทำความตกลงกันในเรื่องสำคัญๆดังต่อไปนี้ จองชื่อกับกรมพัฒนาธุรกิจการการค้า (ต้องไม่ซ้ำหรือคล้องจองกับชื่อที่เคยมีอยู่แล้ว) จํานวนเงินลงทุนหรือสิ่งที่ผู้เปน หุ้นส่วน แต่ละคนจะนำมาลงทุนสามารถลงทุนด้วย เงิน ทรัพย์สิน หรือ แรงงานก็ได (ยกเว้นหุ้นส่วนจำกัดความรับผิดจะลงทุนด้วย แรงงานไม่ได้) กำหนดขอบเขตวัตถุประสงค์ของห้างหุ้นส่วน ที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่และสาขา (ถ้ามี) ชื่อที่อยู่อายุสัญชาติและสิ่งที่นำมาลงหุ้นของ หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดและหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิดแต่ละคน ชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วน ข้อจำกัดอำนาจหุ้นส่วนผู้จัดการ (ถ้ามี) ดวงตราสำคัญของห้างหุ้นส่วน (ถ้ามี) รายการอื่น ๆ ที่เห็นสมควรจะให้ประชาชนทราบ ขั้นตอนการจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน จัดทำคำขอจดทะเบียนตั้งห้างหุ้นส่วนและเอกสารประกอบการจดทะเบียน ยื่นต่อนายทะเบียน ยื่นคำขอจดต่อนายทะเบียน แก้ไขข้อบกพร่องในคำขอตามคำสั่งของนายทะเบียนให้ถูกต้องครบถ้วน รับใบสั่งชำระค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ชำระค่าธรรมเนียมตามใบสั่งของเจ้าหน้าที่ ถ้าประสงค์จะได้หนังสือรับรองรายการในทะเบียน และ / หรือสำเนาเอกสาร ให้ยื่นคำขอและชำระค่าธรรมเนียมต่อเจ้าหน้าที่… Read more

วิธีการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า

วิธีการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า  ขั้นตอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของประเทศไทย การตรวจค้น แนะนำให้ผู้ยื่นดำเนินการตรวจค้นเครื่องหมายที่จะขอจดว่าเหมือนหรือคล้ายเครื่องหมาย ของผู้อืนหรือไม่ 2. ผู้ค้นต้องเสียค่าธรรมเนียมในการตรวจค้น 100 บาท/1 ชั่วโมง การยื่นขอจดทะเบียน ผู้ยื่นต้องเตรียมเอกสารตามที่กฎหมายกำหนดและกรอกข้อความให้สมบูรณ์ ได้แก่ – คำขอจดทะเบียน (ก. 01) พร้อมสำเนา จำนวน 10 แผ่น – การ์ด (ก. 16) จำนวน 2 แผ่น – หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามีการมอบอำนาจ) ติดอากร 30 บาท ต่อผู้รับมอบอำนาจ 1 คน – สำเนาบัตรประจำตัว (ถ้าผู้ขอเป็นบุคคลธรรมดา)… Read more

ขั้นตอนการจดทะเบียนเลิกและชำระบัญชีบริษัท

ขั้นตอนการจดทะเบียนเลิกและชำระบัญชีบริษัทจำกัด การเลิกและชำระบัญชีบริษัทจำกัดในกรณีที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติพิเศษให้เลิกบริษัท มีขั้นตอนดำเนินการรวม 8 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ จัดประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น เพื่อลงมติพิเศษให้เลิกบริษัท ดังนี้ (การบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นเพื่อลงมติพิเศษนั้นให้บอกกล่าวโดยลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์แห่งท้องที่อย่างน้อยหนึ่งครั้งก่อนวันนัดประชุมใหญ่ไม่น้อยกว่า 14 วันและส่งคำบอกกล่าวทางไปรษณีย์ตอบรับไปยังผู้ถือหุ้นทุกคนที่มีชื่ออยู่ในสมุดทะเบียนหุ้นของบริษัทก่อนวันนัดประชุมใหญ่ไม่น้อบกว่า 14 วัน) – มีวาระพิจารณาเรื่องเลิกบริษัท – มีวาระพิจารณา 3 วาระ คือ ลงมติพิเศษให้เลิกบริษัทและ แต่งตั้งผู้ชำระบัญชีและกำหนดค่าตอบแทน และแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและกำหนดค่าตอบแทน ด้วยคะแนนเสียงข้างมากไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ผู้ชำระบัญชีต้องลงประกาศเลิกบริษัทในหนังสือพิมพ์ท้องที่ 1 ครั้ง ต้องแจ้งการเลิกบริษัทให้เจ้าหนี้ทราบโดยส่งหนังสือลงทะเบียนไปรษณีย์ และต้องจดทะเบียนเลิกบริษัทต่อนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทภายใน 14 วันนับแต่วันเลิกบริษัท เอกสารที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนเลิกบริษัท – คำขอจดทะเบียน (แบบ ลช.1)… Read more

การเพิ่มทุนของบริษัทจำกัด

หลักเกณฑ์การเพิ่มทุน การเพิ่มทุนของบริษัท จะกระทำได้โดยการออกหุ้นใหม่โดยมติพิเศษของที่ประชุมผู้ถือหุ้นเนื่องจากรายการเกี่ยวกับทุนของบริษัทอยู่ในรายการหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 5. ดังนั้น หากมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงทุนจะต้องแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 5. ด้วย โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ จัดประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อมีมติพิเศษให้เพิ่มทุนและแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อ 5. (ทุน) ให้สอดคล้องกับทุนที่เพิ่ม การประชุม 1.1 ส่งคำบอกกล่าวนัดประชุมผู้ถือหุ้นโดยทางไปรษณีย์ตอบรับ และลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์แห่งท้องที่อย่างน้อยหนึ่งคราวก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 14 วัน หรือตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัท และให้ระบุวาระการประชุมเรื่องการเพิ่มทุน แก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 5. (ทุน) รวมทั้งให้ระบุทุนที่เพิ่มและหนังสือบริคณห์สนธิที่ต้องการจะแก้ไขให้ครบถ้วน การนับระยะเวลาบอกกล่าวนัดประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น ให้เริ่มนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ส่งคำบอกกล่าวทางไปรษณีย์ตอบรับหรือวันที่ลงพิมพ์โฆษณาในหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นวันที่ดำเนินการหลังสุดเป็นวันแรกแห่งระยะเวลา และการประชุมจะมีขึ้นได้ในวันถัดจากวันสิ้นสุดแห่งกำหนดระยะเวลานั้น 1.2 ในการลงมติเพิ่มทุน และแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 5. (ทุน) ต้องลงมติด้วยคะแนนเสียงข้างมากไม่ต่ำกว่าสามในสี่ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน การเพิ่มทุนต้องออกหุ้นใหม่ในมูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้เดิม หุ้นที่ออกใหม่ ต้องเสนอให้แก่ผู้ถือหุ้นทั้งหลายตามสัดส่วนจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นนั้นๆ ถือหุ้นอยู่… Read more

เปลี่ยนแปลงบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น

จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บ.อ.จ.5) เอกสารที่ต้องการ สำหรับเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้น ได้แก่ สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) ฉบับเดิม สำเนาบัตรประชาชนของผู้ถือหุ้นรายที่เพิ่มเข้ามาใหม่ รายละเอียดสัดส่วนจำนวนหุ้นที่ถือครอง หนังสือรับรองบริษัทฯ การเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้น มี 2 แบบ คือ เปลี่ยนแปลงสัดส่วนผู้ถือหุ้น– เป็นกรณีเปลี่ยนจำนวนหุ้นที่ถือครอง หรืออัตราส่วนระหว่างผู้ถือหุ้น เปลี่ยนแปลงรายชื่อผู้ถือหุ้น – เป็นกรณีทีมีการเพิ่มรายชื่อผู้ถือหุ้น หรือ ถอนรายชื่อผู้ถือหุ้นออกจากบริษัท หรือทั้ง 2 กรณี หมายเหตุ : บริษัทอาจมีการเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้น ทั้ง 2 แบบ พร้อมกันก็ได้ เมื่อบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้นของบริษัท  กรรมการ (ผู้มีอำนาจ) ของบริษัทจะต้องจัดทำเอกสารข้อ1—2 และนำไปยื่นต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) ฉบับใหม่ หนังสือนำส่งบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น การจดทะเบียน ภายหลัง  จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท การเปลี่ยนแปลงบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น… Read more